AGV คืออะไร
เอจีวี (Automated Guided Vehicles: AGV) เป็นรถขนาดเล็กที่เีคลื่่อนที่ได้เองโดยไม่ต้องมีคนขับ เอจีวีถูกนำมาใช้งานจริงในอุตสาหกรรมครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1953 ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยตอนนั้นถูกนำมาใช้ขนถ่ายสินค้าในโกดังเก็บสินค้า ทำให้สามารถประหยัดใน เรื่องของแรงงานคนและเวลาได้เป็นอย่างดี
รถ AGV (Auto Guiding Vehicle) หรือเรียกกันว่า รถขนส่ง อัตโนมัติ มีระบบควบคุมเส้นทาง และนำทางการขับเคลื่อนด้วยการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กที่ฝังอยู่ในพื้นผิวทางเดินรถ AGV หรือแบบควบคุมโดยการตรวจจับด้วยแสงเลเซอร์ เพื่อให้รถ AGV สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กำหนดได้ ด้วยการประมวลผลควบคุมการทำงาน โดยไมโคร-คอนโทรลเลอร์
ส่วนประกอบของ AGV
1. ส่วนของตัวรถ
2. ส่วนของตัวตรวจเช็คเส้นทาง (Guided sensor)
3. ส่วนของตัวตรวจเช็คความปลอดภัย (Safety sensor)
4. ส่วนของต้นกำลัง (Motor)
5. ส่วนของไฟฟ้าภายในตัวรถ (Power supply)
6. ส่วนของอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power electronics)
7. ส่วนของตัวควบคุม (Controller)
มูลเหตุจูงใจ
1. เพื่อลดการเข้า-ออกของพนักงานขับรถขนส่ง
2. เพื่อลดความล่าช้าจากการขนส่ง Part เนื่องจากการจราจรที่ติดขัด
3. เพื่อลดความความเมื่อยล้าจากการทำงานของพนักงานขนส่ง
4. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถขนส่งที่มีจำนวนมาก
แนวคิดในกำรทำ Kaizen
ได้นำแนวคิดจากรถไฟฟ้าที่สามารถเคลื่อนที่ตามเส้นทางที่กำหนด และสามารถหยุด
เมื่อเราต้องการให้หยุด หรือเมื่อถึงสถานีแบบอัตโนมัติ
ยินดีต้อนรับสู่บล็อกเกอร์ของผม
วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
รายชื่อสมาชิกไฟฟ้าอุตสาหกรรม56
รายชื่อสมาชิก
1 อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชติ อ.ปาล์ม
2. นายอาหามะซุบฮี กะแน มะ
3. นายรชต อารี รอน
2. นายอาหามะซุบฮี กะแน มะ
3. นายรชต อารี รอน
18. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด เอ็กซ์
19. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง โปร
23. นายพิชชากร มีบัว กร
27. นายวสุ ราชสีห์ หนัง
29. นายวิฆเนศ ณ รังษี หมู
32. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ ทู
36. นายสุรศักดิ์ สะเกษ โจ้
37. นายเสะมาดี ตูแวดาแม ดี
41. นายอับดุลรอมัน บูกา รอมัน
46. นายอิสมาแอ มะยี แอ
47. นายจตุรงค์ หิรัญกูล นิว
48. นายเกรียงศักดิ์ บุญประเสริฐ เบียร์
49. นายพุฒิพงศ์ หนูนอง เพชร
50.นาย วงศธร อินทมะโน หลวงหมีด47. นายจตุรงค์ หิรัญกูล นิว
48. นายเกรียงศักดิ์ บุญประเสริฐ เบียร์
49. นายพุฒิพงศ์ หนูนอง เพชร
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว(Star Network)
1 แบบดาว (Star
Network) เป็นวิธีการที่นิยมใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Host
Computer) ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง
และต่อสายไปยังคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลตามจุดต่างๆ
แต่ละจุดเปรียบได้กับแต่ละแฉกของดาวนั่นเอง
ในการต่อแบบนี้ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะถูกต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางโดยตรง จึงไม่มีปัญหาการแย่ง การใช้สายสื่อสาร จึงทำให้มีการตอบสนอง
ที่รวดเร็วการส่งข้อมูลแต่ละสถานี (เครื่องคอมพิวเตอร์ย่อยๆ) ก็จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางก่อนแล้วตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางนี้จะเป็นผู้ส่งไป
ยังสถานีอื่นๆ การควบคุมการรับส่งภายในระบบทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางดังนั้นถ้าเครื่องศูนย์กลางมีปัญหาขัดข้องก็จะทำให้
ระบบทั้งระบบต้องหยุดชะงักทันที
ในการต่อแบบนี้ คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะถูกต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางโดยตรง จึงไม่มีปัญหาการแย่ง การใช้สายสื่อสาร จึงทำให้มีการตอบสนอง
ที่รวดเร็วการส่งข้อมูลแต่ละสถานี (เครื่องคอมพิวเตอร์ย่อยๆ) ก็จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางก่อนแล้วตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางนี้จะเป็นผู้ส่งไป
ยังสถานีอื่นๆ การควบคุมการรับส่งภายในระบบทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางดังนั้นถ้าเครื่องศูนย์กลางมีปัญหาขัดข้องก็จะทำให้
ระบบทั้งระบบต้องหยุดชะงักทันที
ข้อดี
1. เป็นระบบที่ง่ายต่อการติดตั้ง
2. เนื่องจากการรับ – ส่งข้อมูลขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางทั้งหมดจึงทำให้การรับ – ส่งข้อมูลทำได้ง่าย
3. หากอุปกรณ์ชิ้นใดเสียหายก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ เพราะมีการใช้อุปกรณ์ที่แยกออกจาก กัน
4. การตอบสนองที่รวดเร็วเพราะไม่ต้องแย่งกันใช้สายสื่อสาร
5. หากสถานีใดเกิดความเสียหายก็สามารถที่จะตรวจสอบได้ง่าย
1. เป็นระบบที่ง่ายต่อการติดตั้ง
2. เนื่องจากการรับ – ส่งข้อมูลขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางทั้งหมดจึงทำให้การรับ – ส่งข้อมูลทำได้ง่าย
3. หากอุปกรณ์ชิ้นใดเสียหายก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ เพราะมีการใช้อุปกรณ์ที่แยกออกจาก กัน
4. การตอบสนองที่รวดเร็วเพราะไม่ต้องแย่งกันใช้สายสื่อสาร
5. หากสถานีใดเกิดความเสียหายก็สามารถที่จะตรวจสอบได้ง่าย
ข้อเสีย
1. เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและบำรุงรักษามาก
2. หากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางขัดข้อง ก็จะทำให้ระบบใช้งานไม่ได้ทันที
3. ขยายระบบได้ยากเพราะต้องทำจากศูนย์กลางออกมา
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง
1. เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและบำรุงรักษามาก
2. หากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางขัดข้อง ก็จะทำให้ระบบใช้งานไม่ได้ทันที
3. ขยายระบบได้ยากเพราะต้องทำจากศูนย์กลางออกมา
4. เครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง
วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
เทคโนโลยีสื่อสารระบบ4G
ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาในยุคของการปฏิรูปการศึกษา เราเร่งพัฒนาการศึกษาให้การศึกษาไปพัฒนาคุณภาพของคน เพื่อให้คนไปช่วยพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่องมือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนำการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน (Access) ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องนอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยำในการจัดทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ในงานจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอน
"4G อีกก้าวของเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อคนไทย" นี้ เพราะ เทคโนโลยี 4G กำลังเป็นกระแสที่คนไทยหลายๆ คนในยุคปัจจุบันให้ความสนใจ แม้ตอนนี้บ้านเราจะอยู่ในช่วงการพัฒนาเทคโนโลยี 3G ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่ก็มีการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี 4G ควบคู่กันไปด้วย
เทคโนโลยี 4G ( Forth Generation ) กำลังเป็นกระแสที่คนไทยหลายๆ คนในยุคปัจจุบันให้ความสนใจ แม้ตอนนี้บ้านเราจะอยู่ในช่วงการพัฒนาเทคโนโลยี 3G ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่ก็มีการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี 4G ควบคู่กันไปด้วย
เทคโนโลยี 4G เป็นเครือข่ายไร้สายความเร็วสูงชนิดพิเศษ โดยเป็นการพัฒนาต่อยอดจากเทคโนโลยี 3จี จึงมีคุณสมบัติที่สามารถตอบสนองการใช้งานสื่อสารไร้สายความเร็วสูง ที่มีความเร็วตั้งแต่ 100 Mbps – 1024 Mbps (1Gbps) หรือเร็วกว่าเทคโนโลยี 3G มากถึง 7 เท่า สามารถเชื่อมต่อในรูปแบบ เสมือนจริงหรือ 3มิติ (three-dimensional) ระหว่างผู้ใช้โทรศัพท์ด้วยกันเอง และสถานีฐานที่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่จากเครื่องหนึ่งไปยัง อีกเครื่องหนึ่งสามารถส่งผ่านข้อมูลแบบไร้สายด้วยระดับความเร็วสูงที่เพิ่ม สูงขึ้นถึง 100 Mbps เร็วกว่าปัจจุบันถึง 10 เท่า ด้วยเหตุนี้จึงทำให้สามารถชมโทรทัศน์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือพูดคุยผ่านระบบ Video Call ของโทรศัพท์ ได้อย่างคมชัด ไม่กระตุกหรือดีเลย์ สามารถส่งไฟล์วิดีโอที่มีความละเอียดสูง รับชมการถ่ายทอดสด แบบ Realtime การประชุมทางไกลแบบ Interactive ที่สามารถโต้ตอบแบบทันที บริการ cloud service สนับสนุนการเรียนผ่านทาง e-learning, การรักษาโรคทางไกล (Telemedicine) รวมไปถึงการชมภาพยนตร์ความละเอียดสูงบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งอาจพลิกวงการธุรกิจด้านมัลติมีเดียและวีดีโอออนไลน์ในอนาคต
ปัจจุบันเทคโนโลยี 4G มีการทดลองใช้แล้วในหลายประเทศในยุโรป ญี่ปุ่น จีน และสิงคโปร์ สำหรับไทยนั้นเพิ่งเริ่มมีการทดสอบโดยความร่วมมือของผู้ให้บริการเครือข่าย เอกชน กสทช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นเพียงการทดสอบในเชิงเทคนิคชั่วคราว โดยมิได้แสวงหากำไรผ่านการเปิดโอกาสให้ทั้งกลุ่มเจ้าหน้าที่ทางเทคนิค พร้อมทั้งกลุ่มตัวอย่างของประชาชน นักเรียนนักศึกษา ได้ทำการทดสอบด้วย ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการทดสอบในครั้งนี้ จะเป็นก้าวแรกที่สำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย ที่เรียกได้ว่าปัจจุบันยังคงล้าหลังหลายๆ ประเทศอยู่มาก
ข้อดีและข้อเสียของระบบเครือข่ายไร้สาย 4G
ข้อดี
1.ช่วยลดปัญหาในการติดตั้งระบบเครือข่าย 2.
2.ช่วยลดปัญหาในการวางสายระบบเครือข่าย 3.
3.ไม่ต้องใช้สาย cable 4.
4.ช่วยให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย
ข้อเสีย
1.มีอัตราการลดทอนสัญญาณสูง นั่นหมายความว่า “ ส่งสัญญาณได้ระยะสั้น ” 2.
2.มีสัญญาณรบกวนสูง 3.
3.ต้องแชร์กันใช้ช่องสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกัน 4.
4.ยังมีหลายมาตรฐาน ตามผู้ผลิต แต่ละราย ทำให้ มีปัญหา ในการ ใช้งาน ร่วมกัน 5.
5.ราคาแพงกว่าระบบเครือข่ายแบบมีสาย 6.
6.มีความเร็วไม่สูงมากนัก
ขอสรุปประโยชน์ของเทคโนโลยีการสื่อสาร 4G ดังนี้
1.สามารถตอบสนองการใช้งานสื่อสารไร้สายความเร็วสูง ที่มีความเร็วตั้งแต่ 100 Mbps – 1024 Mbps (1Gbps) หรือเร็วกว่าเทคโนโลยี 3G มากถึง 7 เท่า
2.สามารถเชื่อมต่อในรูปแบบ เสมือนจริงหรือ 3มิติ (three-dimensional) ระหว่างผู้ใช้โทรศัพท์ด้วยกันเอง และสถานีฐานที่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่จากเครื่องหนึ่งไปยัง อีกเครื่องหนึ่งสามารถส่งผ่านข้อมูลแบบไร้สายด้วยระดับความเร็วสูงที่เพิ่ม สูงขึ้นถึง 100 Mbps เร็วกว่าปัจจุบันถึง 10 เท่า
3.สามารถชมโทรทัศน์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือพูดคุยผ่านระบบ Video Call ของโทรศัพท์ ได้อย่างคมชัด ไม่กระตุกหรือดีเลย์
4.สามารถส่งไฟล์วิดีโอที่มีความละเอียดสูง รับชมการถ่ายทอดสด แบบ Realtime การประชุมทางไกลแบบ Interactive ที่สามารถโต้ตอบแบบทันที บริการ cloud service สนับสนุนการเรียนผ่านทาง e-learning, การรักษาโรคทางไกล (Telemedicine) รวมไปถึงการชมภาพยนตร์ความละเอียดสูงบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอาจพลิกวงการธุรกิจด้านมัลติมีเดียและวีดีโอออนไลน์ในอนาคต
"4G อีกก้าวของเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อคนไทย" นี้ เพราะ เทคโนโลยี 4G กำลังเป็นกระแสที่คนไทยหลายๆ คนในยุคปัจจุบันให้ความสนใจ แม้ตอนนี้บ้านเราจะอยู่ในช่วงการพัฒนาเทคโนโลยี 3G ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่ก็มีการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี 4G ควบคู่กันไปด้วย
เทคโนโลยี 4G ( Forth Generation ) กำลังเป็นกระแสที่คนไทยหลายๆ คนในยุคปัจจุบันให้ความสนใจ แม้ตอนนี้บ้านเราจะอยู่ในช่วงการพัฒนาเทคโนโลยี 3G ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่ก็มีการศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยี 4G ควบคู่กันไปด้วย
เทคโนโลยี 4G เป็นเครือข่ายไร้สายความเร็วสูงชนิดพิเศษ โดยเป็นการพัฒนาต่อยอดจากเทคโนโลยี 3จี จึงมีคุณสมบัติที่สามารถตอบสนองการใช้งานสื่อสารไร้สายความเร็วสูง ที่มีความเร็วตั้งแต่ 100 Mbps – 1024 Mbps (1Gbps) หรือเร็วกว่าเทคโนโลยี 3G มากถึง 7 เท่า สามารถเชื่อมต่อในรูปแบบ เสมือนจริงหรือ 3มิติ (three-dimensional) ระหว่างผู้ใช้โทรศัพท์ด้วยกันเอง และสถานีฐานที่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่จากเครื่องหนึ่งไปยัง อีกเครื่องหนึ่งสามารถส่งผ่านข้อมูลแบบไร้สายด้วยระดับความเร็วสูงที่เพิ่ม สูงขึ้นถึง 100 Mbps เร็วกว่าปัจจุบันถึง 10 เท่า ด้วยเหตุนี้จึงทำให้สามารถชมโทรทัศน์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือพูดคุยผ่านระบบ Video Call ของโทรศัพท์ ได้อย่างคมชัด ไม่กระตุกหรือดีเลย์ สามารถส่งไฟล์วิดีโอที่มีความละเอียดสูง รับชมการถ่ายทอดสด แบบ Realtime การประชุมทางไกลแบบ Interactive ที่สามารถโต้ตอบแบบทันที บริการ cloud service สนับสนุนการเรียนผ่านทาง e-learning, การรักษาโรคทางไกล (Telemedicine) รวมไปถึงการชมภาพยนตร์ความละเอียดสูงบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ซึ่งอาจพลิกวงการธุรกิจด้านมัลติมีเดียและวีดีโอออนไลน์ในอนาคต
ปัจจุบันเทคโนโลยี 4G มีการทดลองใช้แล้วในหลายประเทศในยุโรป ญี่ปุ่น จีน และสิงคโปร์ สำหรับไทยนั้นเพิ่งเริ่มมีการทดสอบโดยความร่วมมือของผู้ให้บริการเครือข่าย เอกชน กสทช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นเพียงการทดสอบในเชิงเทคนิคชั่วคราว โดยมิได้แสวงหากำไรผ่านการเปิดโอกาสให้ทั้งกลุ่มเจ้าหน้าที่ทางเทคนิค พร้อมทั้งกลุ่มตัวอย่างของประชาชน นักเรียนนักศึกษา ได้ทำการทดสอบด้วย ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการทดสอบในครั้งนี้ จะเป็นก้าวแรกที่สำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย ที่เรียกได้ว่าปัจจุบันยังคงล้าหลังหลายๆ ประเทศอยู่มาก
ข้อดีและข้อเสียของระบบเครือข่ายไร้สาย 4G
ข้อดี
1.ช่วยลดปัญหาในการติดตั้งระบบเครือข่าย 2.
2.ช่วยลดปัญหาในการวางสายระบบเครือข่าย 3.
3.ไม่ต้องใช้สาย cable 4.
4.ช่วยให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย
ข้อเสีย
1.มีอัตราการลดทอนสัญญาณสูง นั่นหมายความว่า “ ส่งสัญญาณได้ระยะสั้น ” 2.
2.มีสัญญาณรบกวนสูง 3.
3.ต้องแชร์กันใช้ช่องสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกัน 4.
4.ยังมีหลายมาตรฐาน ตามผู้ผลิต แต่ละราย ทำให้ มีปัญหา ในการ ใช้งาน ร่วมกัน 5.
5.ราคาแพงกว่าระบบเครือข่ายแบบมีสาย 6.
6.มีความเร็วไม่สูงมากนัก
ขอสรุปประโยชน์ของเทคโนโลยีการสื่อสาร 4G ดังนี้
1.สามารถตอบสนองการใช้งานสื่อสารไร้สายความเร็วสูง ที่มีความเร็วตั้งแต่ 100 Mbps – 1024 Mbps (1Gbps) หรือเร็วกว่าเทคโนโลยี 3G มากถึง 7 เท่า
2.สามารถเชื่อมต่อในรูปแบบ เสมือนจริงหรือ 3มิติ (three-dimensional) ระหว่างผู้ใช้โทรศัพท์ด้วยกันเอง และสถานีฐานที่ทำหน้าที่ส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่จากเครื่องหนึ่งไปยัง อีกเครื่องหนึ่งสามารถส่งผ่านข้อมูลแบบไร้สายด้วยระดับความเร็วสูงที่เพิ่ม สูงขึ้นถึง 100 Mbps เร็วกว่าปัจจุบันถึง 10 เท่า
3.สามารถชมโทรทัศน์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือพูดคุยผ่านระบบ Video Call ของโทรศัพท์ ได้อย่างคมชัด ไม่กระตุกหรือดีเลย์
4.สามารถส่งไฟล์วิดีโอที่มีความละเอียดสูง รับชมการถ่ายทอดสด แบบ Realtime การประชุมทางไกลแบบ Interactive ที่สามารถโต้ตอบแบบทันที บริการ cloud service สนับสนุนการเรียนผ่านทาง e-learning, การรักษาโรคทางไกล (Telemedicine) รวมไปถึงการชมภาพยนตร์ความละเอียดสูงบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอาจพลิกวงการธุรกิจด้านมัลติมีเดียและวีดีโอออนไลน์ในอนาคต
วันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นาย นิโรจน์ หวันปรัตน์
ชื่อเล่น ซอล
ที่อยู่ ต.เทพา อ.เทพา จ.สงขลา
เบอร์โทร 0883973060
ชื่อเล่น ซอล
ที่อยู่ ต.เทพา อ.เทพา จ.สงขลา
เบอร์โทร 0883973060
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)